วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2560

กลศาสตร์วิศวกรรม Engineering Mechanics


บทที่
เนื้อเรื่อง
หน้าที่
1หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์1
 1.1 คำจำกัดความ1
 1.2 ประเภทของกลศาสตร์1
 1.3 วิวัฒนาการกลศาสตร์2
 1.4 ปริมาณทางกลศาสตร์2
 1.5 มิติและระบบหน่วย3
 แบบฝึกหัดบทที่ 17
   
2หลักกาของแรงและโมเมนต์ของแรง9
 2.1 ความหมายและชนิดของแรง9
 2.2 ระบบแรง10
 2.3 โมเมนต์ของแรง11
 2.4 เงื่อนไขของการสมดุล12
 2.5 ผลลัพธ์ของระบบแรง13
 แบบฝึกหัดบทที่ 225
   
3แผนภาพส่วนอิสระและการสมดุลของแรง28
 3.1 แผนภาพส่วนอิสระ28
 3.2 การสมดุลของแรง28
 3.3 ทฤษฎีการสมดุลของแรง29
 แบบฝึกหัดบทที่ 346
   
4การวิเคราะห์ระบบแรงสองมิติ50
 4.1 บทนำ50
 4.2 การวิเคราะห์แรงสองมิติที่พบกัน50
 4.3 การวิเคราะห์แรงสองมิติที่ขนานกัน57
 4.4 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ64
 4.5 การวิเคราะห์แรงสองมิติที่ไม่พบกัน69
 แบบฝึกหัดบทที่ 479
   
5การวิเคราะห์แรงสามมิติ83
 5.1 บทนำ83
 5.2 การวิเคราะห์แรงสามมิติที่พบกัน84
 5.3 การวิเคราะห์แรงสามมิติที่ไม่พบกัน95
 แบบฝึกหัดบทที่ 5105
   
6แบบภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด110
 6.1 บทนำ110
 6.2 คำจำกัดความ111
 6.3 แผนภาพแรงเฉือน112
 6.4 แผนภาพของโมเมนต์ตัด120
 6.5 แผนภาพมาตรฐาน129
 แบบฝึกหัดบทที่ 6135
   
7แรงเสียดทาน138
 7.1 นิยามและประเภทของแรงเสียดทาน138
 7.2 คุณสมบัติของแรงเสียดทาน138
 7.3 สัมประสิทธ์ความเสียดทาน139
 แบบฝึกหัดบทที่ 7151
   
8จุดศูนย์ถ่วงและโมเมนต์ความเฉื่อย154
 8.1 ทฤษฎีจุดศูนย์ถ่วง154
 8.2 การหาจุดศูนย์ถ่วงของรูปทรง157
 8.3 โมเมนต์ความเฉื่อย170
 แบบฝึกหัดบทที่ 8181
   
9การเคลื่อนที่184
 9.1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน184
 9.2 การเคลื่อนที่ในแนวราบ187
 9.3 การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง191
 9.4 การเคลื่อนที่ในแนวโค้ง194
 9.5 การเคลื่อนที่เชิงมุม198
 แบบฝึกหัดบทที่ 9203
   
10งานและพลังงาน205
 10.1 งาน205
 10.2 พลังงาน207
 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน211
 10.4 งานเสมือน213
 แบบฝึกหัดบทที่ 10216
   
11แรงกระแทกและแรงเคลื่อนไหว218
 11.1 นิยามของแรงกระแทกและแรงเคลื่อนไหว218
 11.2 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกระแทกและแรงเคลื่อนไหว218
 11.3 กฎของแรงเคลื่อนไหว222
 แบบฝึกหัดบทที่ 11226
   
12หน่วยแรง228
 12.1 บทนำ228
 12.2 ความเค้น228
 12.3 ความเครียด231
 12.4 ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด234
 แบบฝึกหัดบทที่ 12237
บรรณานุกรม239
ภาคผนวก240
 ภาคผนวก กตารางการเปลี่ยนหน่วย241
 ภาคผนวก ขความหนาแน่นของวัสดุ244
 ภาคผนวก คสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของวัสดุ245
 ภาคผนวก งคุณสมบัติของพื้นที่หน้าตัดต่างๆ246
 ภาคผนวก จสูตรตรีโกณมิติ251

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ประกาศ

เว็บบล็อกนี้เผยแพร่ความรู้สร้างความเข้าใจ ความรู้ทางการศึกษาด้านต่างๆ ในรูปของสื่อดิจิทัล ที่อาจเป็นหนังสือสิ่งพิมพ์ สื่อเรียนรู้มัลติมีเดีย โดยเลือกมาจากแหน่งต่างๆ ที่เผยแพร่ รวมทั้งที่จัดทำขึ้นเองและจากผู้ต้องการเผยแพร่เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา คลิกที่ภาพหรือลิงค์ ในภาพที่ลงไว้ในแต่ละบล็อกก็สามารถเข้าสู่เนื้อหาหรือเรียนรู้ได้